13 May 2008
สรุปข้อสนเทศ : SABINA
สรุปข้อสนเทศ
บริษัท ซาบีน่า จำกัด (มหาชน) (ซาบีน่า)
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : 177 หมู่ 8 ตำบล วังไก่เถื่อน อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท 17130
โทรศัพท์ (Tel.) 056-437156-8, 02-422-9400
โทรสาร (Fax) : 056-437-159,02-434-5911 Website www.sabina.co.th
ที่ตั้งโรงงาน: -โรงงานท่าพระตั้งอยู่ที่ 93/47 ซ.เพชรเกษม 7 ถ.เพชรเกษม แขวงวัดท่าพระ
เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท์ 02-467-1161 โทรสาร 02-457-0439
-โรงงานนครปฐมตั้งอยู่ที่ 30/5 หมู่ 5 ถ.พุธมณฑลสาย 5 ต.ไร่ขิง อ.สามพราน
จ.นครปฐม 73210 โทรศัพท์ 02-811-8220 โทรสาร 02-811-8081
-โรงงานยโสธรตั้งอยู่ที่ 236 หมู่ 10 ต.ดู่ทุง อ.เมือง จ.ยโสธร 35000
โทรศัพท์ 045-737-351 โทรสาร 045-737-356
-โรงงานชัยนาทตั้งอยู่ที่ 177 หมู่ 8 ต.วังไก่เถื่อน อ.หันคา จ.ชัยนาท 17130
โทรศัพท์ 056-437-159 โทรสาร 056-437-159
เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียน เมื่อวันที่ 15 เดือน พฤษภาคม พ.ศ 2551 (เริ่มทำการซื้อขายวันที่ 15 พฤษภาคม 2551)
ประเภทหลักทรัพย์จดทะเบียน หุ้นสามัญ 69,500,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 5 บาท รวม 347.50 ล้านบาท
จำนวนหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่เสนอขาย IPO 10,500,000 หุ้น
มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 5 บาท รวม 52.50 ล้านบาท
ทุนของบริษัท ณ วันที่ 15 พฤษภาคม 2551 (วันที่เริ่มทำการซื้อขาย)
ทุนจดทะเบียน
หุ้นสามัญ 347.50 ล้านบาท
ทุนชำระแล้ว
หุ้นสามัญ 347.50 ล้านบาท
ตลาดรอง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET)
ราคาเสนอขาย 32 บาทต่อหุ้น
วันที่เสนอขาย 2 พฤษภาคม และ 6 ถึง 7 พฤษภาคม 2551
วัตถุประสงค์การใช้เงินเพิ่มทุน ชำระหนี้เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 60.0 ล้านบาท
ชำระหนี้เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 4.5 ล้านบาท
ใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน 259.42 ล้านบาท
การจัดสรรหุ้นส่วนเกิน ไม่มี
ประเภทกิจการและลักษณะการดำเนินงาน
- ลักษณะผลิตภัณฑ์ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่
o ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ผ ลิ ต และจำ หน่ ยภายใต้ เ ครื่ อ งหมายการค้ ของบริ ษั ท ย่ อ ย
โดยบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย ออกแบบ คือ "Sabina" "Sabinie" "SBN" "Moldern Curve by Sabina"
"Moldern Soft by Sabina""Doomm Doomm" และ "Viora" มี จุดเด่นอยู่ที่ สีสันและดีไซน์ที่ทันสมัย
สามารถตอบสนองความต้องการของผู้หญิงยุคใหม่ ในขณะเดียวกันก็สามารถช่วยแก้ไขข้อบกพร่องทางสรีระ
หรือเสริมบุคลิก การแต่งกายให้สวยงามตามแฟชั่นได้
o ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตภายใต้เครื่องหมายการค้าของลูกค้าซึ่งเป็นผู้จัดจำหน่ายสินค้าในต่างประเทศ (OEM)
ซึ่งออกแบบ ผลิต และจำหน่ายชุดชั้นในสตรีให้แก่ ลูกค้าซึ่งเป็นผู้จัดจำหน่ายสินค้าภายใต้เครื่องหมายการค้ายอดนิยม
ใน ยุโรป และอเมริกา
- โครงสร้างรายได้ สามารถจำแนกได้ดังนี้
o รายได้จำแนกตามประเภทผลิตภัณฑ์ รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ OEM นับเป็นรายได้หลักของบริษัทฯ
โดยคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 63.04 ร้อยละ 60.46 และร้อยละ54.89 ของรายได้รวมตามงบการเงินรวมปี
2548 ปี 2549 และปี 2550 ตามลำดับ ในขณะที่รายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ภายใต้เครื่องหมาย
การค้าของบริษัทย่อยคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 35.89 ร้อยละ 38.89 และร้อยละ 43.80 ของรายได้รวมตาม
งบการเงินรวมปี 2548 ปี 2549 และปี 2550 ตามลำดับ
-1-
ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550
หน่วย : ล้านบาท
มูลค่า % มูลค่า % มูลค่า %
ผลิตภัณฑ์ภายใต้เครื่องหมาย
การค้าของบริษัทย่อย
รายได้จากการขายในประเทศ 659.41 35.33% 847.64 38.40% 903.02 43.12%
เสื้อชั้นใน 472.46 25.31% 566.95 25.68% 717.86 34.28%
กางเกงชั้นใน 128.57 6.89% 183.69 8.32% 205.68 9.82%
อื่นๆ 1 76.23 4.08% 118.29 5.36% 6.48 0.31%
ส่วนลดจ่าย 2 -17.85 -0.96% -21.29 -0.96% -27.00 -1.29%
รายได้จากการขาย
ต่างประเทศ 3 10.60 0.57% 10.86 0.49% 14.06 0.67%
เสื้อชั้นใน 7.75 0.42% 7.91 0.36% 10.49 0.50%
กางเกงชั้นใน 1.44 0.08% 1.76 0.08% 2.40 0.11%
อื่นๆ 1 1.41 0.08% 1.19 0.05% 1.18 0.06%
ส่วนลดจ่าย 2 - - - - -0.01 0.00%
รวมรายได้จากการขาย
ผลิตภัณฑ์ภายใต้เครื่องหมาย 670.01 35.89% 858.50 38.89% 917.08 43.80%
การค้าของบริษัทย่อย
ผลิตภัณฑ์ OEM
เสื้อใน 816.37 43.73% 959.81 43.48% 906.83 43.31%
กางเกงชั้นใน 277.14 14.85% 293.97 13.32% 183.81 8.78%
อื่นๆ 1 83.90 4.49% 95.22 4.31% 59.39 2.84%
ส่วนลดจ่าย 2 -0.71 -0.04% -14.23 -0.64% -0.67 -0.03%
รวมรายได้จากการขาย
1,176.70 63.04% 1,334.77 60.46% 1,149.36 54.89%
ผลิตภัณฑ์ OEM
รวมรายได้จากการขาย 1,846.71 98.93% 2,193.27 99.35% 2,066.44 98.69%
รายได้จากการบริการ 4 0.02 0.00% 3.40 0.15% 1.46 0.07%
รายได้อื่น 5 19.90 1.07% 10.92 0.49% 26.07 1.25%
รวมรายได้ 1,866.63 100.00% 2,207.59 100.00% 2,093.97 100.00%
หมายเหตุ: 1 อื่นๆ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ประเภท ชั้นในกระชับรูปทรง เสื้อในตัวยาว ชุดนอน และอุปกรณ์ประกอบเสื้อ
ชั้นใน เป็นต้น
2 ส่วนลดจ่าย คือ ส่วนลดให้กับลูกค้าที่มีการสั่งซื้อบางราย
3 รายได้จากการขายต่างประเทศ หมายถึง รายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ภายใต้เครื่องหมายการค้า
ของบริษัทย่อยในประเทศอื่นนอกเหนือจากประเทศไทย
4 รายได้จากการบริการ ได้แก่ รายได้จากการรับจ้างตัดผ้า และรายได้จากการรับจ้างเย็บสินค้า
5 รายได้อื่น ได้แก่ ดอกเบี้ยรับ, รายได้ชดเชยการส่งออก(บัตรภาษี), รายได้จากการคืนอากร,
กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน, เงินปันผล, รายได้ค่าชดเชยสินค้า เป็นต้น
o รายได้จำแนกตามประเทศ รายได้จากลูกค้าต่างประเทศคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 64.29 ร้อยละ 61.36 และ
ร้อยละ 56.30 ของรายได้จากการขายตามงบการเงินปี 2548 ปี 2549 และปี 2550 ตามลำดับ โดยประเทศคู่ค้ารายใหญ่
ได้แก่ สหรัฐอเมริกา, สหราชอาณาจักร และฝรั่งเศส โดยสัดส่วนการส่งออกคิดเป็นร้อยละ 26.89 ร้อยละ 15.71
และร้อยละ 10.65 ของรายได้จากการขายในปี 2550 ตามลำดับในขณะที่รายได้จากการขายในประเทศคิดเป็นสัดส่วน
ร้อยละ 35.71 ร้อยละ 38.65 และร้อยละ 43.70 ของรายได้จากการขายตามงบการเงินรวมปี 2548 ปี 2549
และปี 2550 ตามลำดับ
-2-
ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550
หน่วย : ล้านบาท
มูลค่า % มูลค่า % มูลค่า %
ผลิตภัณฑ์ภายใต้เครื่องหมาย
การค้าของบริษัทย่อย
รายได้จากการขาย
659.41 35.71% 847.64 38.65% 903.00 43.70%
ภายในประเทศ
รายได้จากการขาย
ต่างประเทศ
สิงคโปร์ 9.90 0.54% 5.34 0.24% 5.48 0.27%
ดูไบ 0.70 0.04% 0.00 0.00% 4.44 0.21%
อังกฤษ 0.00 0.00% 4.55 0.21% 2.95 0.14%
อื่นๆ 0.00 0.00% 0.97 0.04% 1.20 0.06%
รวมรายได้จากการขาย
10.60 0.57% 10.86 0.50% 14.07 0.68%
ต่างประเทศ
รวมรายได้จากการขาย
ผลิตภัณฑ์ภายใต้เครื่องหมาย 670.01 36.28% 858.50 39.14% 917.07 44.38%
การค้าของบริษัทย่อย
ผลิตภัณฑ์ OEM
อเมริกา 385.87 20.89% 486.30 22.17% 555.74 26.89%
สหราชอาณาจักร 497.84 26.96% 443.00 20.20% 321.82 15.57%
ฝรั่งเศส 105.77 5.73% 248.29 11.32% 220.16 10.65%
แคนาดา 11.64 0.63% 9.47 0.43% 12.34 0.60%
สเปน 0.00 0.00% 0.49 0.02% 11.50 0.56%
สวีเดน 65.78 3.56% 40.17 1.83% 8.66 0.42%
เนเธอร์แลนด์ 54.24 2.94% 23.14 1.06% 6.84 0.33%
เยอรมันนี 28.24 1.53% 74.29 3.39% 1.07 0.05%
อื่นๆ 27.32 1.48% 9.62 0.44% 11.24 0.54%
รวมรายได้จากการขาย
1,176.70 63.72% 1,334.77 60.86% 1,149.37 55.62%
ผลิตภัณฑ์ OEM
รวมรายได้จากการขาย
1,846.71 100.00% 2,193.27 100.00% 2,066.44 100.00%
ผลิตภัณฑ์
- เป้าหมายการดำเนินธุรกิจ
บริษัทฯ มีเป้าหมายในการเป็นหนึ่งในกลุ่มผู้ประกอบการผลิตชุดชั้นในชั้นนำภายในประเทศ โดยในปี 2551 นี้
บริษัทฯ จะลดสัดส่วนการขายผลิตภัณฑ์ OEM ลงและจะหันมาเพิ่มสัดส่วนการขายสินค้าแบรนด์ของตัวเองให้มากขึ้น
ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีอัตรากำไรสูงกว่า เพื่อช่วยลดความเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจ OEM และลดความเสี่ยงจากความผัน
ผวนของอั ต ราแลกเปลี่ ย นเงิ น ตราระหว่ งประเทศ โดยมี เ ป้ หมายการเติ บ โตของรายได้ จ กการขายสิ น ค้ ภายใต้
เครื่องหมายการค้าของบริษัทย่อยในประเทศ อยู่ที่ร้อยละ 15 ในปี 2550 และคาดว่าจะมีอัตราเติบโตเฉลี่ยเท่ากับ ร้อย
ละ 15 ต่อปี ตั้งแต่ปี 2551-2553 และจะรักษาสัดส่วนการผลิตสินค้า OEM ให้ลดลงเหลือร้อยละ 50 ของรายได้รวม
ภายในปี 2551 บริษัทฯ จะเน้นการสร้างความแข็งแกร่งของสินค้าภายใต้เครื่องหมายการค้าของบริษัทย่อยในฐานลูกค้า
ปัจ จุบั นและกลุ่ม เป้า หมาย รวมทั้ ง รัก ษาอั ตรากำ ไรของบริ ษัท ฯ ด้ว ยการหั นมาให้ ความสำคั ญกั บ การพั ฒ นาตลาด
ภายในประเทศโดยมุ่งเน้นที่ตลาดวัยสาวและวัยผู้ใหญ่มากขึ้นเนื่องจากเป็นกลุ่มวัยที่มีฐานลูกค้าขนาดใหญ่ และมีกำลัง
ซื้อสูง โดยได้เริ่มดำเนินงานตั้งแต่ปี 2548 เป็นต้นมา ขณะเดียวกันบริษัทย่อยเพิ่มปริมาณการส่งออกสินค้าภายใต้
เครื่องหมายการค้าของตนเอง เพื่อเพิ่มการรับรู้ในตราสินค้า (Brand Recognition) ในต่างประเทศ เช่นในประเทศ สิงค์
โปร์ ประเทศพม่า ประเทศบรูไน และประเทศตุรกี และพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง โดยจะรักษารายได้จากการขาย
สินค้า ภายใต้เครื่องหมายการค้าของตนเองในต่า งประเทศเท่ากั บ 50 ล้านบาท ใน 2-3 ปีข้ งหน้ สำหรับ ตลาด
ภายในประเทศ บริษัทย่อยตั้งเป้าหมายที่จะเปิดร้านค้าภายใต้แบรนด์ของตนเองจำนวน 5 ร้าน ในอีก 2 ถึง 3 ปีข้างหน้า
โดยในเดื อ นพฤษภาคม ปี 2551 บริ ษั ท ย่ อ ยได้ เ ปิ ด ร้ นค้ ภายใต้ แ บรนด์ ข องตนเอง ไปเป็ น จำ นวน 2
ร้ น ที่ห้างสรรพสินค้าแฟชั่นไอส์แลนด์และมาบุญครอง
ในด้ นการพั ฒ นาและเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ พการผลิ ต บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ตั้ ง หน่ ว ยงานวิ ศ วกรรม
การผลิ ต (IndustrEngineering) ทำหน้ ที่ ว งแผนและพั ฒ นากระบวนการผลิ ต ให้ มี ป ระสิท ธิ ภ พมากขึ้น
ลดขั้ น ตอนที่ ไ ม่ ก่ อ ให้ เ กิ ด
-3-
มูลค่าเพิ่มลง ในขณะเดียวกันก็พัฒนาแรงงานให้มีความสามารถทำงานได้หลากหลายมากขึ้น (Multi-Skill Training)
เพื่อยกระดับฝีมือแรงงานให้สามารถผลิตชิ้นงานที่มีความซับซ้อน และยังได้จัดให้มีทีมฝึกอบรม (Coaching Team)
เพื่อทำการฝึกอบรมและเตรียมความพร้อมให้แก่พนักงาน เมื่อมีการเปลี่ยนผลิตภัณฑ์แบบใหม่ๆนอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมี
แผนที่จะเปิดศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร ในรูปแบบเดียวกันกับ "ศูนย์ฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ตามพระราชบัญญัติ
ส่งเสริมพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ.2545" ที่ได้จัดตั้งขึ้นในปี 2549 ณ โรงงานจังหวัด ยโสธร โดยมีเป้าหมายจะเปิดศูนย์
ฝึกอบรมได้ครบในทุกๆโรงงานภายในปี 2551 เพื่อลดผลกระทบจากการขาดแคลนพนักงานที่มีทักษะแล้ว
บริ ษั ท ฯ ยั ง มี ค วามต้ อ งการที่ จ ควบคุ ม ต้ น ทุ น การผลิ ต และคุ ณ ภาพของสิ น ค้ เพื่ อ เพิ่ ม ความสามารถในการ
แข่งขัน และสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าของบริษัทฯ โดยเฉพาะในส่วนของการเป็นผู้ผลิต OEM ซึ่งมีเป้าหมายที่จะ
พัฒนาประสิทธิภาพในการผลิตและกระบวนการทำงานทุกด้านเพื่อสร้างข้อได้เปรียบทางด้านต้นทุน ตัวอย่างเช่น การ
ลดระยะเวลาที่ใช้ในการจัดเตรียมวัตถุดิบและผลิตสินค้า (Lead Time) บริษัทฯ มีนโยบายที่จะพัฒนาคุณภาพสินค้า
และควบคุมต้นทุนการผลิตอย่างต่อเนื่องในอนาคต โดยมีแผนลงทุนซื้อเครื่องปั๊มฟองโมลด์เพิ่ม 4 เครื่องในปี 2551
นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีเป้าหมายที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนามาตรฐานในสังคมและชุมชน และรักษาสิ่งแวดล้อม
เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ โดยไม่จำกัดเฉพาะบริเวณที่ใกล้เคียงกับแหล่งที่ตั้งโรงงานต่างๆ เท่านั้น ยังรวมไปถึง
การพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนในบริเวณอื่นๆ อีกด้วย
- กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ สามารถแบ่งกลุ่มเป้าหมายได้เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่
o กลุ่มลูกค้าวัยเด็กและวัยรุ่น กลุ่มลูกค้านี้เป็นฐานลูกค้าหลักของบริษัทฯ เนื่องจากสินค้าของบริษัทฯตรง
กับความต้องการของลูกค้ากลุ่มนี้เป็นอย่างดี ด้วยลักษณะของสินค้า รูปแบบแฟชั่น และมีการวางจำหน่าย
ผลิตภัณฑ์ใหม่อยู่เสมอ บริษัทฯ จึงสามารถสร้างรายได้จากลูกค้ากลุ่มนี้อย่างต่อเนื่อง
o กลุ่มลูกค้าวัยสาวและวัยผู้ใหญ่ เป็นกลุ่มที่คำนึงถึงประโยชน์การใช้งานมากกว่าความสวยงามเพียงอย่าง
เดียว อีกทั้งมีอำนาจการซื้อสูงและปริมาณลูกค้าจำนวนมาก บริษัทฯ จึงวางแผนออกผลิตภัณฑ์สำหรับ
ลู ก ค้ กลุ่ ม นี้ ม กขึ้ น โดยออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ มี ป ระโยชน์ ใ นการใช้ ง น แก้ ไ ขข้ อ บกพร่ อ ง
และตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคกลุ่มนี้ให้มากขึ้น
o กลุ่มลูกค้าต่างประเทศ กลุ่มลูกค้าต่างประเทศจะสั่งผลิตชุดชั้นในภายใต้เครื่องหมายการค้าของผู้สั่งผลิต
โดยส่วนใหญ่เป็นบริษัทจำหน่ายชุดชั้นในที่มีชื่อเสียง มีการประกอบกิจการมานานในทวีปยุโรป อเมริกา
และสแกนดิเนเวีย เช่น สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส อังกฤษ แคนาดา เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ สวีเดน ฟินแลนด์
เป็นต้น
- ช่องทางการจำหน่าย
o ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ภ ยใต้ เ ครื่ อ งหมายการค้ ของบริ ษั ท ย่ อ ยโดยบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยภายในประเทศ จั ด
จำหน่ายชุดชั้นใน ผ่านหลายช่องทางการจัดจำหน่ายเพื่อให้เข้าถึงลูกค้าได้อย่างทั่วถึง ผ่านเคาน์เตอร์
ภายในห้างสรรพสินค้า และดิสเคานท์สโตร์ทั่วประเทศ รวมทั้งสิ้น 343 เคาน์เตอร์ สำหรับการจำหน่ายใน
ต่างประเทศ บริษัทฯ มีการจำหน่ายสินค้าภายใต้เครื่องหมายการค้า "Sabina" "Sabinie" "SBN" ผ่าน
ตัวแทนจำหน่ายในประเทศ สิงคโปร์ ซึ่งเป็นการขายขาดให้แก่ตัวแทนจำหน่ายเพื่อนำสินค้าของบริษัทฯ
ไปวางขายในห้ งสรรพสิ น ค้ ต่ งๆนอกจากนี้ ยั ง มี ผู้ นำ เข้ สิ น ค้ ต่ งประเทศนำ เข้
สิ น ค้ ภายใต้เครื่องหมายการค้าของบริษัทย่อยพื่อไปจัดจำหน่ายในตลาดต่างประเทศ เช่น พม่า, บรูไน,
ยูเออี และตุรกี
o ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตภายใต้เครื่องหมายการค้าของลูกค้าซึ่งเป็นผู้จัดจำหน่ายสินค้าในต่างประเทศ (OEM) จะ
มีบริษัทฯ เป็นผู้จัดจำหน่ายตรงแก่ลูกค้าหรือจำหน่ายผ่านตัวกลาง เมื่อผลิตชุดชั้นในเสร็จสิ้นและผ่านการ
ตรวจคุณภาพเป็นที่เรียบร้อย บริษัทฯ จึงจัดส่งชุดชั้นในถึงลูกค้าโดยตรง
- การจัดหาผลิตภัณฑ์
ปริมาณสินค้าที่จะผลิตขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น การคาดการณ์สภาวะการแข่งขันทางการตลาด ฤดูกาล
ในการวางจำหน่ายผลิตภัณฑ์ใหม่ กำลังการผลิตของแต่ละโรงงาน และนโยบายจากฝ่ายบริหารงาน โดยมีปัจจัยพื้นฐาน
มาจากความต้อ งการของลูกค้า เป็น หลัก ซึ่งผลิตภัณ ฑ์ภายใต้เ ครื่อ งหมายการค้าของบริษัทย่ อย บริษัท ฯ จะมีการวาง
แผนการวางจำหน่ายสินค้าล่วงหน้าทุกปี เพื่อควบคุมการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะที่ผลิตภัณฑ์ OEM บริษัทฯ
จะมีการผลิตตามการสั่งซื้อจากลูกค้าเป็นครั้งๆไป ซึ่งลูกค้าจะสั่งซื้อตามแผนการวางจำหน่ายสินค้าของลูกค้า ทั้งนี้เพื่อ
ไม่ให้เกิดความล่าช้าในการผลิต และส่งสินค้า ในปัจจุบันบริษัทฯ และบริษัทย่อย มีโรงงานทั้งหมด 4 แห่ง ได้แก่ โรงงาน
ในเขตจังหวัดชัยนาท ยโสธร กรุงเทพ และนครปฐม ซึ่งมีการกำลังการผลิตรวมสูงสุดอยู่ที่ 13.44 ล้านชิ่นต่อปี สำหรับ
การจัดหาวัตถุดิบ บริษัทฯ และบริษัทย่อยไม่มีนโยบายในการซื้อวัตถุดิบล่วงหน้าเพื่อมาเก็บ บริษัทฯ จะมีการทำสัญญา
ซื้อขายในระยะยาวแทนการซื้อวัตถุดิบมาเก็บ กล่าวคือจะมีการทำสัญญาซื้อขายล่วงหน้า เพื่อจองกำลังการผลิตของผู้จัด
จำ หน่ ยวั ต ถุดิ บ และเพื่อ ส่ งมอบวั ต ถุดิ บตามกำ หนดเวลาที่ ตกลงไว้ บริ ษัท ฯ และบริษั ท ย่อ ยจะสั่ง ซื้ อวั ต ถุดิ บ จากผู้
จำหน่ายที่มีการซื้อขายกันมาเป็นระยะเวลานาน โดยส่วนใหญ่มีความสัมพันธ์เป็นระยะเวลานาน ซึ่งมีทั้งผู้จำหน่ายวัตถุดิบ
ภายในประเทศ และต่างประเทศ รวมทั้งสิ้นกว่า 200 ราย และหากวัตถุดิบหลักที่ต้องการเป็นวัตถุดิบชนิดใหม่ที่ไม่เคยมี
การนำมาใช้ในการผลิต บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะจัดให้มีการประกวดราคาระหว่างผู้จำหน่ายวัตถุดิบ
- ภาวะอุปสงค์ อุปทานของชุดชั้นในในประเทศไทย
สำหรับภาวะอุปสงค์ สัดส่วนประชากรในประเทศไทยในปี 2549 มีประชากรเพศหญิงมากกว่าเพศชาย กล่าวคือ
มีประชากรเพศหญิงประมาณ 33.6 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 51.68 ของประชากรทั้งหมดของประเทศไทย และใน
ประชากรเพศหญิงมีจำนวน 28.6 ล้านคนอยู่ในช่วงอายุประมาณ 10 - 79 ปี ซึ่งเป็นวัยที่บริโภคผลิตภัณฑ์ชุดชั้นใน โดย
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้บริโภคในการเลือกซื้อชุดชั้นใน คือ ประโยชน์ในการใช้งาน (Function) แต่ใน
-4-
ปัจจุบัน พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไป โดยหันมาให้ความสำคัญในเรื่องรูปแบบ (Fashion) ของชุดชั้นในมากขึ้น
ประกอบกับชุดชั้นในเป็นสินค้าจำเป็นและมีอายุการใช้งานจำกัด ส่งผลให้ความถี่ในการบริโภคชุดชั้นในเพิ่มสูงขึ้น ซึ่ง
นับเป็นปัจจัยสนับสนุนให้มีปริมาณความต้องการบริโภคชุดชั้นในอย่างต่อเนื่อง
ด้านอุปทานชุดชั้นใน มีผู้ผลิตทั้งรายใหญ่ รายกลางและรายย่อยกระจายอยู่ทั่วประเทศกว่า 40 ราย นอกจาก
กำลังการผลิตในประเทศ ยังมีชุดชั้นในที่มีชื่อเสียงจำหน่ายในราคาสูงจากประเทศในแถบตะวันตก และชุดชั้นในราคา
ประหยัดจากประเทศเพื่อนบ้าน เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นจำนวนมากเข้ามาจำหน่ายในประเทศ โดยลักษณะการ
ผลิ ต มี ทั้ ง ที่ เ ป็ น การผลิ ต ให้ กั บ ตราสิ น ค้ ต่ งประเทศเพื่ อ ส่ ง ออกทั้ ง หมด (OEM)
หรื อ ซื้ อ ลิ ข สิ ท ธิ์ ต ราสิ น ค้ จากต่างประเทศเพื่อผลิตและจำหน่ายในประเทศและเพื่อส่งออก
รวมทั้งการผลิตภายใต้เครื่องหมายการค้าของตนเอง และการผลิ ต โดยไม่ มี เ ครื่ อ งหมายการค้
อย่ งไรก็ ต ม ปั จ จุ บั น ผู้ ผ ลิ ต เริ่ ม ให้ ค วามสำ คั ญ กั บ มู ล ค่ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ (Product
Value) มากขึ้น จึ งมี การพั ฒนาการผลิ ต การสร้า งโครงข่ ยอุต สาหกรรม การจั ดการวัต ถุดิ บเพื่อ ปรั บปรุง
และพั ฒนาผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคได้อย่างรวดเร็ว รวมถึงมีการจ้างผู้เชี่ยวชาญด้านการผลิต
และนักออกแบบจากต่างประเทศมาช่วยพัฒนาด้านผลิตภัณฑ์
- การแข่งขัน
o ภาวะการแข่ ง ขั น ภายในประเทศ มี ก รแข่ ง ขั น สู ง ในทุ ก ระดั บ ราคา โดยมี ผู้ ป ระกอบการหลายรายใน
อุตสาหกรรมชุดชั้นใน เช่น บริษัท ไทยวาโก้ จำกัด (มหาชน) ผู้ผลิตชุดชั้นในตรา "Wacoal" บริษัท ไทร
อัมพ์ อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ผลิตชุดชั้นในตรา "Triumph" และบริษัทฯ ผู้ผลิตชุด
ชั้นในตรา "Sabina" และยัง มีผู้ผ ลิต รายย่อยซึ่งผลิต ชุดชั้ นในโดยไม่ มีเครื่องหมายการค้ จำ นวนมาก
รองรับตลาดผู้บริโภคที่คำนึงถึงราคาเป็นประเด็นหลักในการเลือกซื้อสินค้า โดยหากแบ่งสัดส่วนตลาด
โดยประมาณแล้ ว บริ ษั ท ฯ จั ด เป็ น ผู้ จำ หน่ ยชุ ด ชั้ น ในอั น ดั บ สาม รองจาก บริ ษั ท ไทยวาโก้ จำ กั ด
(มหาชน) และบริษัท ไทรอัมพ์ อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด ตามลำดับ อย่างไรก็ตามสินค้า
ของแต่ละบริษัทนั้นมีกลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่แตกต่างกันไป ทำให้ปัจจุบันไม่มีการแข่งขันระหว่างผู้ผลิตชั้นนำมากนัก
นอกจากนี้ ยังมีการแข่งขันจากผู้ผลิตชุดชั้นในชั้นนำจากต่างประเทศ เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส
สหรั ฐ อเมริ ก เป็ น ต้ น ที่ เ ข้ มาแย่ ง ชิ ง ส่ ว นแบ่ ง การตลาดผู้ บ ริ โ ภคระดั บ บน
สำ หรั บ ตลาดผู้ บ ริ โ ภคที่คำ นึ ง ถึ งราคาเป็ น ประเด็ น หลัก มี ก รแข่ ง ขัน จากชุด ชั้ น ในนำ เข้
ราคาประหยั ดจากผู้ ผลิ ต จากประเทศใกล้เคียง เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งมีต้นทุนการผลิตต่ำ เป็นต้น
o ภาวะการแข่งขันในตลาดต่างประเทศ การแข่งขันในตลาด OEM มีแนวโน้มสูงขึ้น เพราะนอกจากจะมี
คู่แข่งขันเป็นผู้ผลิตสินค้า OEM ภายในประเทศรายใหญ่ซึ่งนอกจากจีนจะได้เปรียบในด้านต้นทุนการผลิต
แล้ว ยังได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาลอีกด้วยประกอบกับโดยส่วนใหญ่เป็นผู้ผลิตครบวงจรตั้งแต่การผลิต
ต้นน้ำจนถึงการผลิตปลายน้ำของอุตสาหกรรมสิ่งทอและยังมีคู่แข่งขันจากประเทศใกล้เคียงที่มีต้นทุนการ
ผลิ ต ที่ ต่ำ กว่ เข้ มาแข่ ง ขั น ในตลาดนี้ อี ก ด้ ว ย อย่ งไรก็ ต ม คู่ แ ข่ ง เหล่ นี้
จ เน้ น ราคาขายที่ ถู ก กว่ มากกว่าคุณภาพของผลิตภัณฑ์ จึงทำให้กลุ่มบริษัทผู้ผลิตในประเทศไทยซึ่งเน้น
คุณภาพของผลิตภัณฑ์ยังคงมีศักยภาพและความได้เปรียบในการแข่งขันกับคู่แข่งในต่างประเทศ
- ศักยภาพการแข่งขันของบริษัทฯ
o คุณภาพผลิตภัณฑ์: บริษัทฯ ผลิตชุดชั้นในที่มีคุณภาพทัดเทียมกับชุดชั้นในที่ผลิตโดยคู่แข่งในประเทศ
รายใหญ่ และยังสามารถผลิตชุดชั้นในที่ต้องอาศัยทักษะการตัดเย็บสูงได้ ประกอบกับมีบริการออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ให้แก่ลูกค้า OEM เพื่อให้บริการที่ครบวงจรอีกด้วย ซึ่งนับเป็นข้อได้เปรียบเมื่อเทียบกับผู้ผลิต
สินค้า OEM จากประเทศใกล้เคียง
o ระบบสื่ อ สารแบบ Interactive: การติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั บ ลู ก ค้ ในการทดลองตั ว อย่ ง
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ ดยให้นางแบบสวมใส่ (fitting) ผ่านระบบ video teleconferencing ทำให้บริษัทฯ
ได้รับทราบถึงปัญหาของตัวอย่างผลิตภัณฑ์ได้ชัดเจน และช่วยลดระยะเวลาการผลิตสินค้าให้รวดเร็วยิ่งขึ้น
o การออกแบบผลิต ภั ณ ฑ์ : บริ ษั ท ฯ มี ก รออกแบบชุ ด ชั้ นในสำ หรั บ วั ย รุ่น ให้ มี ล วดลาย
น่ รั ก จึ ง ทำ ให้ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ สามารถครองตลาดผู้ซื้อกลุ่มวัยรุ่นได้
o ช่างฝีมือที่มีทักษะในการตัดเย็บสูง: บริษัทฯ มีช่างฝีมือที่มีทักษะในการตัดเย็บสูง สามารถตัดเย็บชุด
ชั้นในที่สลับซับซ้อนได้ ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้เปิดศูนย์การเรียนในโรงงานซึ่งให้การศึกษาพนักงานทั้งในสาย
สามัญและสายอาชีพ จึงเป็นส่วนเสริมให้บริษัทฯสามารถคัดเลือกช่างเย็บที่มีความสามารถได้
o ระบบการจัดการโรงงานและจัดเตรียมความพร้อมพนักงาน: บริษัทฯ มีนโยบายพัฒนาระบบการจัดการ
ภายในโรงงาน โดยการใช้ห น่วยงานวิศวกรรมการผลิต (Industrial Engineering) มาช่วยในการลด
ขั้นตอนและปรับปรุงวิธีการผลิต รวมทั้งการจัดทีมพัฒนาและฝึกอบรม (Coaching Team) เพื่อให้ความรู้
ให้การอบรม และเตรียมความพร้อมแก่พนักงานเย็บ ให้มีทักษะในการเย็บมากขึ้น นอกจากนี้บริษัทฯมีการ
ป้องกันผลกระทบจากการขาดแคลนบุคลากรในโรงงาน โดยจัดตั้งศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนในระดับ
การศึกษาชั้นมัธยมต้น และมัธยมปลาย ชื่อ "ศูนย์การเรียน บริษัท ซาบีน่า จำกัด (มหาชน)" ในบริเวณ
พื้น ที่ โ รงงานที่ จั งหวั ด ยโสธร เพื่ อให้ ก รศึ ก ษาในสายสามัญ ระดั บ ชั้น มั ธ ยม
และได้จั ด ตั้ ง ศู นย์ ฝึ ก สายอาชีพ "ศูนย์ฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมพัฒนาฝีมือแรงงาน
พ.ศ.2545" เพื่อสอนวิชาชีพช่างตัดเย็บให้แก่บุคคลที่มีความสนใจ และยังมีแผนการจัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรใน
ทุกๆโรงงานอีกด้วย
-5-
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ไม่มี
สรุปสาระสำคัญของสัญญา
- บริ ษั ท ฯได้ ล งนามในสั ญ ญาเช่ สิ่ ง ปลู ก สร้ งกั บ บริ ษัท ซาบี น่ ฟาร์ อี ส ท์ จำ กั ด
เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2550 เพื่อใช้เป็นสำนักงานและโกดังของบริษัท มีระยะเวลาเช่า
3 ปี และบริษัทมีสิทธิต่ออายุการเช่าออกไปได้ 3 คราว ๆ ละ 3 ปี โดยต้องแจ้ง ให้
ผู้ให้เช่าทราบเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 180 วัน อัตราค่าเช่าเดือนละ
142,500.00 บาท โดยผู้ให้เช่าเป็นผู้รับผิดชอบค่าภาษีโรงเรือนและที่ดินที่เกิดจาก
การเช่าทรัพย์ และผู้ให้เช่าสัญญาว่าจะไม่จำหน่ายจ่ายโอน ขายทรัพย์ที่เช่าภายใน
ระยะเวลา 12 ปี
(ยังมีต่อ)